โครงสร้างการบริหาร
สาส์นจากผู้บริหาร
ข้อมูลพื้นฐาน อบต.
ความรู้เกี่ยวกับ อบต.
การให้บริการ
คู่มือการให้บริการ
ปฏิทินกิจกรรม
กันยายน 2567
อา พฤ
1 2 3 4 5 6 7
8 9 10 11 12 13 14
15 16 17 1819 20 21
22 23 24 25 26 27 28
29 30 1 2 3 4 5
6 7 8 9 10 11 12
วันที่ 18 กันยายน 2567
เว็บไซต์ท้องถิ่นไทย
เว็บไซต์บริการ
กฎหมายน่ารู้
แบบสอบถาม
ร้องเรียน-ร้องทุกข์
ความพึงพอใจ
คู่มือหรือมาตรฐานการให้บริการ
การวิเคราะห์ผลการประเมินฯในปีที่ผ่านมา
การปฏิบัติงานกระบวนการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริต/แจ้งเบาะแสด้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ
การประเมินความเสี่ยงการทุจริต
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตรอบ 12 เดือน
Social Network
สถิติผู้เข้าชมเว็บไซต์
ออนไลน์ทั้งหมด 17 คน
หมายเลข IP 44.220.181.180
คุณเข้าชมลำดับที่ 3,657,078

อบต.ในเครือข่าย

ช่องทางการติดต่อ
แบบสำรวจความคิดเห็น
คุณมีความคิดเห็นอย่างไรเกี่ยวกับเว็บไซต์ใหม่ของ อบต.
ดีมาก
ดี
ปานกลาง
น้อย
น้อยที่สุด
รวมลิงค์ต่างๆ


  หน้าแรก     อำนาจหน้าที่ของ อบต. 

อำนาจหน้าที่ของ อบต.
อำนาจหน้าที่ของ อบต.  

อำนาจหน้าที่ของ อบต. มีอะไรบ้าง

          อำนาจหน้าที่ของ อบต. 
          แยกออกได้เป็น 2 ประเภท คือ อำนาจหน้าที่ตามกฏหมายจัดตั้ง อบต. และอำนาจหน้าที่ตามกฎหมายกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 

          อำนาจหน้าที่ตามกฎหมายเลือกตั้ง อบต. 
          อบต. มีอำนาจหน้าที่ในการพัฒนาตำบลทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม: กิจการสาธารณที่ อบต. มีอำนาจหน้าที่จัดทำสามารถจำแนกได้ 2 ประเภทคือ 

           
  1) กิจการที่ อบต. มีหน้าที่ต้องทำในเขต อบต.ดังนี้ 
                  (1)  จัดให้มีการบำรุงรักษาทางน้ำและทางบก
                  (2)  รักษาความสะอาดของถนน ทางน้ำ ทางเดิน และที่สาธารณะ รวมทั้งกำจัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล 
                  (3)  ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ 
                  (4)  ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
                  (5)  ส่งเสริมการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 
                  (6)  ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ 
                  (7)  คุ้มครองดูแล และบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 
                  (8)  บำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น
                  (9)  ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ทางราชการมอบหมาย โดยจัดสรรงบประมาณหรือบุคลากรให้ตามความจำเป็นและสำคัญ 

             2) กิจการที่ อบต. อาจจัดทำในเขต อบต. ดังนี้ 
                  (1)  ให้มีน้ำเพื่ออุปโภค บริโภค และการเกษตร 
                  (2)  ให้มีการบำรุงรักษาการไฟฟ้าหรือแสงสว่างโดยวิธีอื่น 
                  (3)  ให้มีและบำรุงรักษาทางระบายน้ำ 
                  (4)  ให้มีและบำรุงสถานที่ประชุม การกีฬา การพักผ่อนหย่อนใจ และสวนสาธารณะ
                  (5)  ให้มีและส่งเสริมกลุ่มเกษตรกรและกิจการสหกรณ์ 
                  (6)  ส่งเสริมให้มีอุตสาหกรรมในครอบครัว 
                  (7)  บำรุงและส่งเสริมการประกอบอาชีพของราษฎร 
                  (8)  การคุ้มครองดูแลและรักษาทรัพย์สินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
                  (9)  หาผลประโยชน์จากทรัพย์สินของ อบต. 
                 (10)  ให้มีตลาด ท่าเทียบเรือ และท่าข้าม 
                 (11)  กิจการเกี่ยวกับการพานิชย์
                 (12) การท่องเที่ยว 
                 (13) การผังเมือง

          อำนาจหน้าที่ อบต. ดังกล่าวข้างต้น ไม่ตัดอำนาจของกระทรวง ทบวง กรม องค์การหรือหน่วยงานของรัฐในการเข้าไปดำเนินการใดๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อประชาชนในตำบล แต่จะต้องแจ้งให้ อบต. ทราบล่วงหน้า และนำความเห็นของ อบต. เกี่ยวกับกิจการดังกล่าวไปประกอบการพิจารณาดำเนินงานด้วย

อำนาจหน้าที่ตาม พ.ร.บ. กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 

          นอกจากอำนาจหน้าที่ตาม พ.ร.บ สภาตำบล และอบต. พ.ศ. 2537 แล้ว อบต. ยังมีอำนาจหน้าที่เพิ่มเติมในการจัดระบบบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตน ตามมาตรา 16 แห่ง พ.ร.บ. กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 ดังนี้ 

                 (1)  การจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง 
                 (2)  การจัดให้มีและบำรุงรักษาทางบก ทางน้ำ และทางระบายน้ำ 
                 (3)  การจัดให้มีและควบคุมตลาด ท่าเทียบเรือ ท่าข้าม และที่จอดรถ 
                 (4)  การสาธารณูปโภคและการก่อสร้างอื่นๆ
                 (5)  การสาธารณูปการ
                 (6)  การส่งเสริม การฝึกและประกอบอาชีพ 
                 (7)  การพานิชย์ และการส่งเสริมการลงทุน
                 (8)  การส่งเสริมการท่องเที่ยว 
                 (9)  การจัดการศึกษา 
                 (10)  การสังคมสงเคราะห์ และการพัฒนาคุณภาพชีวิต เด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส 
                 (11)  การบำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรมอันดีงามของท้องถิ่น 
                (12)  การปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัดและการจัดการเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย
                (13)  การจัดให้มีและบำรุงรักษาสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ 
                (14)  การส่งเสริมการกีฬา 
                (15)  การส่งเสริมประชาธิปไตย ความเสมอภาค และสิทธิเสรีภาพของประชาชน
                (16)  การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของราษฎรในการพัฒนาท้องถิ่น 
                (17)  การรักษาความสะอาด และความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง
                (18)  การจำกัดมูลฝอย สิ่งปฏิกูล และน้ำเสีย
                (19)  การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล 
                (20)  การจัดให้มีและควบคุมสุสานและฌาปนกิจสถาน 
                (21)  การควบคุมการเลี้ยงสัตว์ 
                (22)  การจัดให้มีและควบคุมการฆ่าสัตว์
                (23)  การรักษาความปลอดภัย ความเป็นระเบียบเรียบร้อย และการอนามัยโรงมหรสพ และสาธารณสถานอื่นๆ
                (24)  การจัดการ การบำรุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากป่าไม้ ที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ แลสิ่งแวดล้อม 
                (25)  การผังเมือง
                (26)  การขนส่ง และการวิศวกรรมจราจร
                (27)  การดูแลรักษาที่สาธารณะ
                (28)  การควบคุมอาคาร 
                (29)  การป้องกันละบรรเทาสาธารณภัย 
                (30)  การรักษาความสงบเรียบร้อย การส่งเสริมและการสนับสนุน การป้องกันและรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 
                (31)  กิจการอื่นใดที่เป็นผลประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่น

การออกข้อบัญญัติท้องถิ่น อบต. 

          เพื่อใช้บังคับในเขต อบต. ได้เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งต่อกฎหมายเพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามอำนาจหน้าที่ของ อบต. หรือเมื่อมีกฎหมายกำหนดให้ อบต. ออกข้อบัญญัติในการนี้จะกำหนดค่าธรรมเนียมที่จะเรียกเก็บและกำหนดโทษปรับผู้ฝ่าผืนด้วยก็ได้ แต่มิให้กำหนดโทษปรับเกินหนึ่งพันบาท เว้นแต่จะมีกฎหมายกำหนดไว้เป็นอย่างอื่น
          ร่างข้อบัญญัติ อบต. จะเสนอได้โดยนายก อบต. หรือ สมาชิกสภา อบต. หรือราษฎรในเขต อบต. ตามกฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่น


การปฏิบัติงานตามอำนาจหน้าที่ของ อบต. 
          ต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน โดยใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี และให้คำนึงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาอบต. การจัดทำงบประมาณ การจัดซื้อจัดจ้าง การประเมินผลการปฏิบัติงาน และการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ทั้งนี้ให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับว่าด้วยการนั้น และหลักเกณฑ์และวิธีการที่กระทรวงมหาดไทยกำหนด

หมู่บ้านในเขต อบต.
งบประมาณ อบต.
สำนักปลัด
งานกิจการสภา อบต.
งานนโยบายและแผน
งานสวัสดิการและสังคมสงเคราะห์
งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
งานบริหารบุคคล
กองคลัง
กองช่าง
กองการศึกษาฯ
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
ข้อมูล ITA
ช่องทางการสื่อสาร
เจตจำนงสุจริตในการบริหารงาน
การดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงที่อาจก่อให้เกิดการทุจริต
การดำเนินการตามมาตรการเพื่อส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน
บันทึกข้อตกลงร่วมกันของบุคลากร
รายงานข้อมูลสถิติการให้บริการประชาชน
ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร
ระบบสารสนเทศสนับสนุนการบริหารจัดการของ อปท.
ร้องเรียนการทุจริต
แจ้งเบาะแสป้ายโฆษณาหรือสิ่งอื่นใดที่รุกล้ำทางสาธารณะ
şişli escort taksim escort mecidiyeköy escort ümraniye escort istanbul escort istanbul escort beşiktaş escort beylikdüzü escort şişli escort şişli escort istanbul escort ümraniye escort taksim escort şişli escort ümraniye escort kartal escort şirinevler escort maltepe escort mersin escort izmir escort istanbul escort pornohub kadıköy escort vip escort sex filmi sex hikaye sex shop sex shop sex shop sex shop sex shop sex shop sex shop sex shop sex shop sex shop işitme cihazi izmir işitme cihazı istanbul işitme cihazı
 
องค์การบริหารส่วนตำบลสระว่านพระยา
อำเภอครบุรี จังหวัดนครราชสีมา
Tel : 044-001123   Fax : 0-440 -011-23
Copyright © 2020 by OPSTECH All Right Reserved.